Home » การยื่นแบบ ภธ.40 ผ่านอินเตอร์เน็ต สำหรับสำนักบัญชี | การ คำนวณ ภาษี ธุรกิจ เฉพาะ

การยื่นแบบ ภธ.40 ผ่านอินเตอร์เน็ต สำหรับสำนักบัญชี | การ คำนวณ ภาษี ธุรกิจ เฉพาะ

การยื่นแบบ ภธ.40 ผ่านอินเตอร์เน็ต สำหรับสำนักบัญชี


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ชุดความรู้การยื่นแบบผ่าน Internet

การยื่นแบบ ภธ.40 ผ่านอินเตอร์เน็ต สำหรับสำนักบัญชี

ภาษีอะไรบ้าง ที่คนทำธุรกิจควรต้องรู้ ?


ภาษีอะไรบ้าง ที่คนทำธุรกิจควรต้องรู้  ?

ฎีกาชาวบ้าน: ภาษีธุรกิจเฉพาะ ค่าโอนบ้าน ใครต้องจ่าย?


คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม http://www.matichon.co.th/news/47893
Official Matichon TV
ติดตามข่าวสารได้ใน
Web : http://www.matichon.co.th/default.php
Facebook : https://www.facebook.com/MatichonOnline
Instargram : https://instagram.com/matichononline
Twitter : https://twitter.com/matichononline
Google+ : https://plus.google.com/109225894671870773920/posts

ฎีกาชาวบ้าน: ภาษีธุรกิจเฉพาะ ค่าโอนบ้าน ใครต้องจ่าย?

ซื้อ-ขายอสังหาริมทรัพย์บ้านและที่ดิน แบบไหนที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ? แบบไหนที่ไม่ต้องเสีย ?


ที่ดิน ค่าโอนที่ ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ เสียเท่าไร ค่าโอน บ้าน อสังหา
จดจำนอง ค่าใช้จ่าย
ซื้อขายอสังหาริมทรัพย์บ้านและที่ดิน แบบไหนที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ? แบบไหนที่ไม่ต้องเสีย ?
สรุป
หลักเกณฑ์ว่าในการโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์แปลงนั้นจะต้องเสียหรือไม่
1.ถ้าถือครองที่ดินมายังไม่ถึง 5 ปี แล้วทำการขาย = เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
2.ถ้าถือครองที่ดินมาเกิน 5 ปี แล้วทำการขาย = ไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
3.ถ้าซื้อบ้านพร้อมที่ดินมาแล้วโอนชื่อเข้าไปอยู่ในทะเบียนบ้านนั้นเกินกว่า 1 ปีแล้วทำการขาย = ไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
ภาษีธุรกิจเฉพาะจะมีการพิจารณาว่าจะต้องเสียหรือไม่ในตอนที่มีการโอนกรรมสิทธิ์ เท่านั้น
จดจำนองเฉยๆไม่ต้องเสีย
ซื้อขาย,ขายฝาก = พิจารณาตามหลักเกณฑ์ว่าต้องเสียหรือไม่

ซื้อ-ขายอสังหาริมทรัพย์บ้านและที่ดิน แบบไหนที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ? แบบไหนที่ไม่ต้องเสีย ?

การคำนวณภาษีรายได้ส่วนบุคคลธรรมดา ขั้นแรก ด้วย Excel


การคำนวณหาภาษีรายได้ส่วนบุคคลธรรมดาที่ต้องเสีย ตามอัตราภาษีแบบขั้นบันได ด้วย Excel ง่ายๆโดยหักค่าใช้จ่าย 50% ของเงินได้ แต่ไม่เกิน 100,000 บาท และ หักค่าลดหย่อนส่วนตัว 60,000 บาท ก่อนถ้าไม่เกิน 150,000 บาท จะได้รับการยกเว้น ถ้ามากกว่า 150,000 บาท ให้หักค่าลดหย่อนต่างๆก่อนที่จะคิดภาษีตามอัตราการเสียภาษีแบบขั้นไดต่อไป

การคำนวณภาษีรายได้ส่วนบุคคลธรรมดา ขั้นแรก ด้วย Excel

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *