Home » การประชุมเพื่อทำความเข้าใจการใช้ DE ในการทำหลักสูตรฐานสมรรถนะ | แบงก์สยามกัมมาจล

การประชุมเพื่อทำความเข้าใจการใช้ DE ในการทำหลักสูตรฐานสมรรถนะ | แบงก์สยามกัมมาจล

การประชุมเพื่อทำความเข้าใจการใช้ DE ในการทำหลักสูตรฐานสมรรถนะ


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ประเภท :\r
\r
หัวเรื่อง :\r
\r
โครงการ\r
\r
งาน\r
วันที่\r
สถานที่\r
\r
ชมวีดีโอทั้งหมดของงานได้ที่ :\r
\r
ชมข้อมูลกิจกรรมทั้งหมดได้ที่ : \r
\r
\r
มูลนิธิสยามกัมมาจล (The Siam Commercial Foundation) \r
สร้างโอกาสการเรียนรู้ | สร้างเยาวชนคุณภาพ | สร้างสังคมคุณภาพ\r
https://www.scbfoundation.com\r
https://www.facebook.com/SCBFOUNDATION

การประชุมเพื่อทำความเข้าใจการใช้ DE ในการทำหลักสูตรฐานสมรรถนะ

มูลนิธิสยามกัมมาจล : คุณอำนาจ จันทร์ช่วง


หัวเรื่อง : มูลนิธิสยามกัมมาจล : คุณอำนาจ จันทร์ช่วง
มูลนิธิชุมชนไท ให้ข้อเสนอแนะ
แก่เยาวชนกลุ่ม GEN V
ในงาน การประชุมนำเสนอรายงานความก้าวหน้า
โครงการ คนรุ่นใหม่ใจอาสา…เพื่อผู้ประสบภัย (GEN V)
วันที่ 25 กันยายน 2555
ณ ห้องประชุมสยามกัมมาจล 1 ชั้น 22 ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

The Siam Commercial Foundation I มูลนิธิ สยามกัมมาจล I
http://www.scbfoundation.com
ส่งเสริมการพัฒนาเยาวชนให้มีจิตอาสาเพื่อสังคม

มูลนิธิสยามกัมมาจล : คุณอำนาจ จันทร์ช่วง

ความเป็นมา แบงก์สยามกัมมาจล สู่ ไทยพาณิชย์สถาบันการเงินอย่างเป็นทางการแห่งแรกของประเทศ


ความเป็นมา แบงก์สยามกัมมาจล สู่ ไทยพาณิชย์สถาบันการเงินอย่างเป็นทางการแห่งแรกของประเทศ จุดนัดชุมนุมกลุ่มราษฎร ที่นี่ThaiPBS ThaiPBS

ความเป็นมา แบงก์สยามกัมมาจล สู่ ไทยพาณิชย์สถาบันการเงินอย่างเป็นทางการแห่งแรกของประเทศ

เวทีพี่เลี้ยง ครั้งที่ 1 โครงการครูเพื่อศิษย์สร้างการเรียนรู้ สู่ระดับเชื่อมโยง ปี 2 ช่วงเช้า


หัวเรื่อง : เวทีพี่เลี้ยง ครั้งที่ 1 โครงการครูเพื่อศิษย์สร้างการเรียนรู้ สู่ระดับเชื่อมโยง ปี 2\r
\r
( ถ่ายทอดสด) เวทีพี่เลี้ยงครั้งที่ 1 วันศุกร์ที่ 8 ตุลาคม 2564 เวลา 09.00 15.00 น. (ระบบออนไลน์ผ่าน zoom)
ช่วงเช้า : Hilight 8 ทีมโค้ชนำเสนอการออกแบบ Online PLC Coaching
โครงการครูเพื่อศิษย์ สร้างการเรียนรู้สู่ระดับเชื่อมโยง : รูปแบบออนไลน์ปี 2 เป็นโครงการต่อเนื่องจากปีที่ 1 ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง มูลนิธิสยามกัมมาจล และ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) เพื่อหนุนให้ \”8 ทีมโค้ช\” ของ 2 เครือข่าย สร้างการเรียนรู้ของผู้อำนวยการและครู ในโรงเรียนเครือข่ายของตน ในรูปแบบ Online PLC Coaching และพัฒนาทักษะการเป็น facilitator ให้แก่ ทีมโค้ช (Mentor) และโรงเรียนแกนนำ (โรงเรียนแม่ข่ายของ Mentor) ให้สามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ของผู้อำนวยและครู ให้มีทักษะในการตั้งคำถามกระตุ้นการเรียนรู้ และโยงไปสู่ทฤษฏีที่เกี่ยวข้องได้ สามารถยกระดับความเข้าใจ และการเรียนรู้ของผู้อำนวยการและครู ให้เพิ่มขึ้นจากเดิม กระตุ้นให้ผู้อำนวยการและครู นำการเรียนรู้ในวง PLC ไปใช้พัฒนางานของตนเอง โดยมีระยะเวลาดำเนินโครงการ ตั้งแต่ 9 กันยายน 2564 – 8 กันยายน 2565
ครูเพื่อศิษย์ กสศ. SCBF โค้ช Facilitator Coaching PLC OnlinePLCCoaching วิจารณ์พานิช
คุณค่า โครงการ พัฒนาศักยภาพครู ครูโค้ช \r
\r
\r
\r
มูลนิธิสยามกัมมาจล (The Siam Commercial Foundation) \r
สร้างโอกาสการเรียนรู้ | สร้างเยาวชนคุณภาพ | สร้างสังคมคุณภาพ\r
https://www.scbfoundation.com\r
https://www.facebook.com/SCBFOUNDATION

เวทีพี่เลี้ยง ครั้งที่ 1  โครงการครูเพื่อศิษย์สร้างการเรียนรู้ สู่ระดับเชื่อมโยง ปี 2 ช่วงเช้า

สยามกัมมาจล : Presentation The Youth Development Through Sufficiency Economy Philosophy Project


ประเภท : วิดีทัศน์
หัวเรื่อง \”Presentation The Youth Development Trough Sufficiency Economy Philosophy Project\”
ด้วยตระหนักถึงความสำคัญใน \”ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง\” ว่าเป็น \”เครื่องมือ\” ที่สำคัญในการพัฒนาบุคลากรของประเทศ มูลนิธิสยามกัมมาจลจึงได้จัดตั้ง \”โครงการพัฒนาเยาวชนโดยการเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง\” และร่วมมือกับโครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ สนับสนุนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงของกระทรวงศึกษาธิการมาอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่ปี 2548 โดยมีบทบาทเป็นผู้จุดประกาย สนับสนุนการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ที่ส่งผลให้นักเรียนเกิดอุปนิสัยพอเพียง ตลอดจนสร้างความต่อเนื่องในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนต่างๆ
ชมโครงการนี้ทั้งหมดได้ที่ http://goo.gl/GKcXSc

The Siam Commercial Foundation I มูลนิธิสยามกัมมาจล I
http://www.scbfoundation.com
ส่งเสริมการพัฒนาเยาวชนให้มีจิตอาสาเพื่อสังคม

สยามกัมมาจล : Presentation The Youth Development Through Sufficiency Economy Philosophy Project

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆwes-and-vps/

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *